ผลงานวิชาการ ผศ.ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ภาคเสาร์ อาทิตย์

งานวิจัย

อรชร ไกรจักร์, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, กรรณิการ์ ขาวเงิน,“แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อส่งเสริมสัมมาชีพตามแนวพุทธในชุมชนโดยใช้ขยะรีไซเคิล จากโครงการเศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นฐาน” ปีงบประมาณ ๒๕๖๖

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ศาสตราจารย์ ดร.มาร์ติน เซเกอร์,กรรณิการ์ ขาวเงิน,ความสำคัญของชุมชนทางศาสนาของสตรี: ความเป็นตัวตนและศักยภาพด้านการส่งเสริมการรู้พระพุทธศาสนาและการขับเคลื่อนการทำงานทางศาสนาของชุมชนสตรีในสังคมไทย, (ทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ๒๕๖๖)

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,อรชร ไกรจักร,กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์, “เครือข่ายชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน: อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” (ทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มจร.๒๕๖๕)

นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา, (หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร.) พ.ศ. ๒๕๖๔  *รางวัลผลงานวิจัยระดับ “ดีมาก” ประจำปี ๒๕๖๔ ของสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการขับเคลื่อนชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน, (หัวหน้าโครงการวิจัย  ทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร.) พ.ศ. ๒๕๖๕

รูปแบบและกระบวนการจัดการท่องเที่ยวในทางพระพุทธศาสนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:กระบวนการเปลี่ยนแปลง เส้นทางบุญสู่เส้นทางธรรม, (หัวหน้าโครงการวิจัย ทุน สกว.) พ.ศ. ๒๕๕๖

ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (ทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์), พ.ศ.๒๕๕๔

บทความวิจัย


อรชร ไกรจักร์, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, กรรณิการ์ ขาวเงิน, “แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อส่งเสริมสัมมาชีพตามแนวพุทธในชุมชนโดยใช้ขยะรีไซเคิล จากโครงการเศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นฐาน”, วารสารวิจยวิชาการ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2567) : 149-166  TCI 1

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, มาร์ติน เซเกอร์, กรรณิการ์ ขาวเงิน, “ความสำคัญของชุมชนทางศาสนาของสตรี: ความเป็นตัวตนและศักยภาพด้านการส่งเสริมการรู้พระพุทธศาสนาและการขับเคลื่อนการทำงานทางศาสนาของชุมชนสตรีในสังคมไทย”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 11 ฉบับที่ 6 (กันยายน-ตุลาคม 2566), Journal of MCU Peace Studies Vol. 11 No. 6 (September-October 2023) : 2480-2496. TCI 1

เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,อรชร ไกรจักร์, กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์ “เครือข่ายชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน : อำเภอพระนครศรีอยุธยา”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, Volume 11, Issue 4, 2023, pp. 1562-1574 TCI 1

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, นัชชา ทากุดเรือ, ปริวุฒิ ภิญโญสินวัฒน์, “รูปแบบและกระบวนการสร้างจิตสาธารณะเพื่อการจัดการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน”, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, Volume 9, Issue 2, 2017, pp. 83-97

Mae Chi Kritsana Raksasom,Martin Seeger, “Mae Chi (Buddhist Nuns):Promlems and Opportunities of Access to Higher Education Organized by Thai Sangkha“, The Chulalongkorn Journal of Buddhist Studies Volume 8, 2014,
P.71-113. 

เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, “ปัญหาการตีความ : พุทธดำรัสเกี่ยวกับการบวชภิกษุณี”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, Volume 4, Issue 2, 2008, pp. 19-52

บทความวิชาการ

เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,อรชร ไกรจักร์,พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ (๒๕๖๔), “ขณะจิตสุดท้าย: ความจริงที่ชาวพุทธควรรู้”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔),: ๑๑๗-๑๒๗. TCI ๒

อรชร ไกรจักร์ เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม พระมหาวรัญธรณ์  ญาณกิตฺติ. (๒๕๖๔), “บุคลิกภาพของพระภิกษุตามหลักเวสารัชชกรณธรรม”, วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน–ธันวาคม ๒๕๖๔),: ๑๑๓-๑๒๕. TCI ๒

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม  อรชร ไกรจักร์. (๒๕๖๖), “การศึกษาเชิงวิเคราะห์การประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ”, วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓  (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๖),: ๑๒๒-๑๓๖. TCI ๒

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม อรชร ไกรจักร์ (๒๕๖๖), “การศึกษาวิเคราะห์พระพุทธพจน์ที่ว่า ถ้าสงฆ์ปรารถนา จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้างก็ถอนได้”, วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๖),: ๘๓-๑๐๔. TCI ๒

ผลงานแปลและเรียบเรียง
ผศ.ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, สีลขันธวรรคฎีกา พระธรรมปาลเถร รจนา, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๖๖

คลิกที่ภาพปกหนังสือเพื่อเปิดอ่านหนังสือฉบับดิิจิทัล

 

 

Mae Chi Kritsana Raksasom,Martin Seeger.(๒๐๑๔) “Mae Chi (Buddhist Nuns):Promlems and Opportunities of Access to Higher Education Organized by Thai Sangkha. Published by Center for Buddhist Studies.Printed by:Chulalongkorn University Printing House[๕๗๑๑-๑๖๒] Chulalongkorn University Bangkok,Thailand. P.๗๑-๑๑๓. ISBN ๒๒๒๙-๑๒๒๙.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๒)ปัญหาการตีความพระพุทธดำรัสต่อพระอานนท์หลังการ บวชของพระนางมหาปชาบดีโคตมี.วารสารพุทธศาสน์ศึกษา.ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓(กันยายนธันวาคม):๗๐-๘๘. TCI ๒

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๒)เหตุปัจจัยแห่งความเสื่อมสูญของภิกษุณีเถรวาทในยุคหลัง พุทธกาล.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน):๑๓๗- ๑๘๒. TCI ๑

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๔)ปัญหาการปรับอาบัติพระอานนท์.วารสารบัณฑิตศึกษา ปริทรรศน์.ปีที่ ๗ ฉบับที่๑ (มกราคม-มิถุนายน):๒๑-๓๐ TCI ๑

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๕)ปัญหาความซ้ำซ้อนของขั้นตอนการบวชเป็นภิกษุณี. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๘ ฉบับที่๑ (มกราคม-เมษายน):๑-๑๓ TCI ๑

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๕)พระพุทธศาสนาในเซินเจิ้น:มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน.เผยแผ่ใน WWW.MCU.ac.th.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๘).“ปัญหาแผนจำกัดภิกษุณีกับการปลอมครุธรรมและ สิกขาบทอื่นๆ.”วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์(ฉบับพิเศษ) ในงาน The ๑ th MCU ๔ International Academic Conference(MIAC) ๒๙th May ๒๐๑๕. Proceeding):๔๖๓- ๔๗๗.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๙). “จริงหรือพระสัทธรรมจะดำรงอยู่ ๕๐๐ ปีเมื่อสตรีออกบวช” .ว า ร ส า ร บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ป ริ ท ร ร ศ น์ . ใน งา น The ๒ nd MCU International Academic Conference(MIAC) ๑๙th May ๒๐๑๖.(Proceeding) : ๓๒๖-๓๓๓.

แ ม่ ชี ก ฤ ษ ณ า รั ก ษ า โ ฉ ม . ( ๒ ๕ ๖ ๐ ) วิจารณ์บทความเรื่อง การต่อสู้ของภิกษุณีสงฆ์เถรวาท:จากลังกาสู่ไทย เขียนโดยกุลวีร์ ประภาพรพิพัฒน์ วิจารณ์โดยแม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๓ (กันยายนธันวาคม):๑๘๘-๑๙๔.TCI ๑.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.ดร.อรชร ไกรจักร์.(๒๕๖๑).สะท้อนภาพการเมืองในมุมมองของ พระพุทธศาสนา.The ๙ th International and the ๑ st National Buddhist Research Seminar,๒-๓April ๒๐๑๘ MCU Srisaket Campas,Thailand. P๑๘. (Proceeding).

 

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่  (ทั้งที่เป็นเจ้าของโครงการและร่วมโครงการ)

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,Martin Seeger. (๒๕๕๖).“แม่ชีกับสภาพปัญหาและโอกาสในการ เข้าถึงอุดมศึกษาที่ จัดโดยคณะสงฆ์ไทย.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม –สิงหาคม) : ๕๙-๘๔. TCI ๒.

      แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม (๒๕๕๖).รูปแบบและกระบวนการจัดการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:เส้นทางบุญสู่เส้นทางธรรม.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๙ ฉบับ ที่๓ (กันยายน-ธันวาคม):๒-๑๕. TCI ๑.

      แม่ชีกฤษณา  รักษาโฉม.(๒๕๖๐).รูปแบบและกระบวนการสร้างจิตสาธารณะเพื่อจัดการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.ปีที่๙ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคมธันวาคม):๘๓-๙๗. TCI ๒.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.ดร.อรชร ไกรจักร์.ดร.ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์.(๒๕๖๐).                                   Panjapala for Sustainable Development of Cooperatives.The ๑st International Conference on Buddhism:Cultural Foundation in Mekong Besin with the Collaboration of MCU Nakhon Phanom Buddhist College Dccember ๒-๔,๒๐๑๗ At Nakhon Phanom Buddhist College.(Proceeding).

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.ศ.ดร.มาร์ติน เซเกอร์.(๒๕๖๑).ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชุมชนนักบวชหญิงในสังคมไทย.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม):๑๘-๒๘.TCI ๑.

พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺเสโน, ผศ. ดร.  ผศ.ดร.วุฒินันท์ กันทะเตียน, ผศ.ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๖๒).โครงการพัฒนาองค์ความรู้และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในการลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพุทธบูรณาการ.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม):๕๖-๖๗.TCI ๑

แม่ชีกฤษณา  รักษาโฉม.(๒๕๖๓).ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องจิตในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔ (กรกฎาคม-สิงหาคม): TCI ๑.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ดร.กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์,นายพชรวีร์ ทองประยูร.(๒๕๖๕)การพัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (มีนาคม-เมษายน):๕๒๓-๕๓๗.TCI ฐาน ๑

          แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ผศ.พิเศษ ดร.อรชร ไกรจักร์,ดร.กรรณิการ์ ขาวเงิน (๒๕๖๕).นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓(พฤษภาคม):๙๗๑-๙๘๕.TCI ฐาน ๑.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ผศ.พิเศษ ดร.อรชร ไกรจักร์,ดร.กรรณิการ์ ขาวเงิน (๒๕๖๖).แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการขับเคลื่อนชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒(มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๖) TCI ๗๓๗-๗๕๓.ฐาน ๑.

 

 

บทความวิจัยในฐานะกรรมการที่ปรึกษา
ศุภกร เรืองวิชญกุล, พระราชปริยัติมุนี (เทียบ สิริญาโณ), แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, “ศึกษาวิธีปฏิบัติวิปัสสนาตามแนวของพุทธทาสภิกขุ”, วารสารมหาจุฬาวิชาการ, Volume 8, Issue 3, 2021, pp. 26-38